การเลือกซื้อกุ้งเครฟิช
1. ควรเลือกกุ้งที่มีอวัยวะสำคัญต่างๆ เช่น ดวงตาและก้ามครบ 2 ข้าง ขาเดินครบทั้ง 4 คู่
2. ควรเลือกตัวที่มีความแข็งแรง ไม่อยู่ในระยะลอกคราบ มีเปลือกลำตัวแข็ง
3. ควรเลือกกุ้งที่มีการตอบสนองป้องกันตัวเมื่อถูกรบกวน เช่น
การยกก้ามคู่ป้องกันตัวเอง
เมื่อจับนำมาใส่ภาชนะจะหลบหนีด้วยการดีดลำตัวอย่างว่องไวหรือพยายามปีนป่ายหนี
4. เลือกซื้อกุ้งที่มีคุณภาพ โดยการสังเกตจากสภาพน้ำและภาชนะที่วางขาย หรือซื้อจากร้านและฟาร์มที่ไว้ใจได้
5. ควรได้รับการปรับสภาพ พักและเปลี่ยนถ่ายน้ำแล้วอย่างน้อย 1-2 สัปดาห์ขึ้นไป ในกรณีที่เป็นกุ้งนำเข้าจากต่างประเทศ
คนที่เลี้ยงกุ้งเครฟิสจะหลงเสน่ห์ของกุ้ง สวยงามชนิดนี้ ผู้เลี้ยงจะได้เห็นพัฒนาการของกุ้งในแต่ละช่วงชีวิต ตั้งแต่ลูกกุ้ง, หลังการลอกคราบทุกครั้ง ขนาดของตัวกุ้งจะใหญ่ขึ้นและมีสีสันที่เปลี่ยนไป เสน่ห์อยู่ตรงที่ผู้เลี้ยงจะได้ลุ้นว่าตัวกุ้งจะขนาดใหญ่ขึ้นเท่าไรและสีสวย สดมากขึ้นหรือไม่
วันศุกร์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
การเลี้ยงรวมกับปลาสวยงาม
การเลี้ยงรวมกับปลาสวยงาม
ถึงแม้ว่ากุ้งเครฟิชในธรรมชาตินั้นจะเก็บเศษซากพืชซากสัตว์กินเป็นอาหารหลัก แต่ในที่เลี้ยงที่มีอาหารจำกัด มันก็จะจับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ กินเป็นอาหารได้ โดยเฉพาะกุ้งขนาด 1.5 – 2.5 นิ้ว ที่มักจะชอบไล่จับปลากินเป็นอาหาร ส่วนกุ้งที่มีขนาดใหญ่ขึ้นก็จะลดนิสัยนี้ลง แต่หากต้องการเลี้ยงปลากับกุ้งด้วยกันให้ยึดหลักดังนี้
1. ขนาดตู้ ต้องกว้างอย่างน้อย 24 นิ้ว น้ำลึกประมาณ 1 ฟุตเป็นอย่างน้อย
2. ปลาที่ว่ายน้ำช้า ปลาที่มีครีบยาวๆ ปลาที่มีนิสัยนอนพื้นตู้ ไม่ควรนำมาเลี้ยงเด็ดขาด ควรเลือกปลาชนิดที่มีขนาดเล็กที่ว่ายน้ำเร็ว หรือหากินกลางน้ำ
3. ปลาซัคเกอร์ น้ำผึ้ง ปลาจิ้งจก เป็นปลาเทศบาลที่สามารถเลี้ยงได้
ถึงแม้ว่ากุ้งเครฟิชในธรรมชาตินั้นจะเก็บเศษซากพืชซากสัตว์กินเป็นอาหารหลัก แต่ในที่เลี้ยงที่มีอาหารจำกัด มันก็จะจับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ กินเป็นอาหารได้ โดยเฉพาะกุ้งขนาด 1.5 – 2.5 นิ้ว ที่มักจะชอบไล่จับปลากินเป็นอาหาร ส่วนกุ้งที่มีขนาดใหญ่ขึ้นก็จะลดนิสัยนี้ลง แต่หากต้องการเลี้ยงปลากับกุ้งด้วยกันให้ยึดหลักดังนี้
1. ขนาดตู้ ต้องกว้างอย่างน้อย 24 นิ้ว น้ำลึกประมาณ 1 ฟุตเป็นอย่างน้อย
2. ปลาที่ว่ายน้ำช้า ปลาที่มีครีบยาวๆ ปลาที่มีนิสัยนอนพื้นตู้ ไม่ควรนำมาเลี้ยงเด็ดขาด ควรเลือกปลาชนิดที่มีขนาดเล็กที่ว่ายน้ำเร็ว หรือหากินกลางน้ำ
3. ปลาซัคเกอร์ น้ำผึ้ง ปลาจิ้งจก เป็นปลาเทศบาลที่สามารถเลี้ยงได้
วันอาทิตย์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
อาหารของกุ้งเครฟิช
อาหารของกุ้งเครฟิช
กุ้งเครฟิชกินอาหารได้แทบทุกชนิด และกินอาหารได้ทั้งวัน มักกินเศษอาหารที่มาจากทั้งพืชและสัตว์ แต่ในธรรมชาติมันจะกินอาหารประเภทพืชผัก รากไม้ ใบไม้ ผลไม้เป็นหลัก ผู้เลี้ยงอาจเลี้ยงด้วยอาหารเม็ดสำเร็จรูปชนิดจมสูตรต่างๆ สำหรับกุ้ง หนอนแดง เนื้อ ไก่ เนื้อหมู เนื้อปลา เนื้อกุ้งทะเลหรือกุ้งฝอยหั่นชิ้นเล็กๆ ผักต่างๆ เช่น แครอท มันฝรั่ง แตงกวา ข้าวโพด ถั่วลันเตา ฟักทอง แอปเปิ้ล ฯลฯ ก็ได้ กุ้งเครฟิชอาจรื้อทึ้งพรรณไม้น้ำที่ใช้ตกแต่งในตู้เป็นอาหารได้ด้วย
กุ้งเครฟิชกินอาหารได้แทบทุกชนิด และกินอาหารได้ทั้งวัน มักกินเศษอาหารที่มาจากทั้งพืชและสัตว์ แต่ในธรรมชาติมันจะกินอาหารประเภทพืชผัก รากไม้ ใบไม้ ผลไม้เป็นหลัก ผู้เลี้ยงอาจเลี้ยงด้วยอาหารเม็ดสำเร็จรูปชนิดจมสูตรต่างๆ สำหรับกุ้ง หนอนแดง เนื้อ ไก่ เนื้อหมู เนื้อปลา เนื้อกุ้งทะเลหรือกุ้งฝอยหั่นชิ้นเล็กๆ ผักต่างๆ เช่น แครอท มันฝรั่ง แตงกวา ข้าวโพด ถั่วลันเตา ฟักทอง แอปเปิ้ล ฯลฯ ก็ได้ กุ้งเครฟิชอาจรื้อทึ้งพรรณไม้น้ำที่ใช้ตกแต่งในตู้เป็นอาหารได้ด้วย
น้ำที่ใช้สำหรับเลี้ยง
น้ำที่ใช้สำหรับเลี้ยง
ในการเลี้ยงกุ้งเครฟิช อุณหภูมิของน้ำที่เหมาะสมคือช่วง 23-28 องศาเซลเซียล มีค่า PH ที่เหมาะสมประมาณ 7.5 – 8.5 ที่มีความกระด้างสูง โดยสามารถใส่เกลือลงไปในตู้ได้เล็กน้อย เนื่องจากเกลือช่วยเสริมแร่ธาตุที่มีความจำเป็นต่อการลอกคราบและสร้างเปลือกใหม่ด้วย
ผู้เลี้ยงควรจะเปลี่ยนถ่ายน้ำประมาณ 30 -50% สัปดาห์ละครั้ง แต่ควรปรับอุณหภูมิน้ำให้ดี ซึ่งขึ้นอยู่กับการเลี้ยงและการให้อาหาร
ในการเลี้ยงกุ้งเครฟิช อุณหภูมิของน้ำที่เหมาะสมคือช่วง 23-28 องศาเซลเซียล มีค่า PH ที่เหมาะสมประมาณ 7.5 – 8.5 ที่มีความกระด้างสูง โดยสามารถใส่เกลือลงไปในตู้ได้เล็กน้อย เนื่องจากเกลือช่วยเสริมแร่ธาตุที่มีความจำเป็นต่อการลอกคราบและสร้างเปลือกใหม่ด้วย
ผู้เลี้ยงควรจะเปลี่ยนถ่ายน้ำประมาณ 30 -50% สัปดาห์ละครั้ง แต่ควรปรับอุณหภูมิน้ำให้ดี ซึ่งขึ้นอยู่กับการเลี้ยงและการให้อาหาร
ตู้เลี้ยงและอ่างเลี้ยงกุ้ง
ตู้เลี้ยงและอ่างเลี้ยงกุ้ง
1. เราสามารถเลี้ยงกุ้งเครฟิช ในที่มีการถ่ายเทน้ำดีในภาชนะใดๆ ก็ได้ มีอุณหภูมิน้ำประมาณ 23 -28 องศา หรืออาจจะเป็นครึ่งบกครึ่งน้ำก็ได้ ปริมาณน้ำจะใส่ครึ่งตู้ หรือเต็มตู้ก็ได้ กุ้งขนาด 3-4 นิ้ว 1 ตัว จะใช้พื้นที่อย่างน้อยประมาณ 1 ฟุต ดังนั้น หากต้องการจะเลี้ยงหลายๆ ตัว จะต้องใช้พื้นที่อย่างกว้างขวางเพียงพอ
2. ถ้าจะเลี้ยงกุ้งหลายตัวเพื่อให้มันสามารถปกป้องตัวเองได้ ควรเลือกเลี้ยงกุ้งในสายพันธุ์เดียวกัน ขนาดไล่เลี่ยกัน เพื่อป้องกันกุ้งตัวเล็กถูกรังแก หรือถูกจับกินได้
3.ที่หลบซ่อนเพื่อให้กุ้งหลบอาศัยในเวลากลางวัน ให้ใช้ขอนไม้ กระถางดินเผา กระถางต้นไม้แตกๆ อุปกรณ์ที่เจาะเป็นโพรง หรือท่อพีวีซีตัด เป็นท่อนๆ
4. ปิดฝาหรือจุดที่กุ้งจะปีนหนีได้
วัสดุปูรองพื้นตู้ที่ใช้เลี้ยงกุ้งเครฟิช ควรปูหินกรวดเล็กรองพื้นตู้เพื่อความสวยงาม และมีประโยชน์ต่อกุ้งหลายประการคือ
1. ทำให้มีสีสรรสวยงามมากขึ้น ทำให้กุ้งไม่ตื่นตกใจ และกุ้งสามารถปรับตัวตามสิ่งแวดล้อมได้ จะทำให้กุ้งมีสีเข้มขึ้นถ้าเน้นหินสีดำหรือน้ำตาล
2. กุ้งป่า ส่วนมากที่หลบซ่อนจะเป็นการขุด กรวดหิน
3. หินกรวดทำให้น้ำในตู้ใสอยู่เสมอ เนื่องจากช่วยดูดซับตะกอนและเศษอาหาร
การให้อากาศและระบบกรองน้ำ
ไม่จำเป็นต้องมีเครื่องให้อากาศก็ได้ ถ้าเราเลี้ยงกุ้งแค่ตัวเดียวและมีพื้นที่กว้างและดูแลน้ำได้ดี แต่การให้อากาศก็ยังจำเป็นอยู่มากในระบบตู้เลี้ยง ซึ่งเน้นความสวยงามและมีการเลี้ยงกุ้งหลายตัว หรือกั้นตู้
แต่สามารถใช้หัวทรายจุ่มลงในน้ำ 3-4 นิ้ว กันฟุ้ง หรือใช้กรองในตู้ กรองแขวน กรองกล่องได้ เพราะกุ้งใช้อากาศน้อยกว่าปลา ยกเว้นกรองแผ่นพื้นที่มักจะโดนกุ้งขุด และกรองฟองน้ำที่อาจโดนกุ้งแทะเล่นได้
1. เราสามารถเลี้ยงกุ้งเครฟิช ในที่มีการถ่ายเทน้ำดีในภาชนะใดๆ ก็ได้ มีอุณหภูมิน้ำประมาณ 23 -28 องศา หรืออาจจะเป็นครึ่งบกครึ่งน้ำก็ได้ ปริมาณน้ำจะใส่ครึ่งตู้ หรือเต็มตู้ก็ได้ กุ้งขนาด 3-4 นิ้ว 1 ตัว จะใช้พื้นที่อย่างน้อยประมาณ 1 ฟุต ดังนั้น หากต้องการจะเลี้ยงหลายๆ ตัว จะต้องใช้พื้นที่อย่างกว้างขวางเพียงพอ
2. ถ้าจะเลี้ยงกุ้งหลายตัวเพื่อให้มันสามารถปกป้องตัวเองได้ ควรเลือกเลี้ยงกุ้งในสายพันธุ์เดียวกัน ขนาดไล่เลี่ยกัน เพื่อป้องกันกุ้งตัวเล็กถูกรังแก หรือถูกจับกินได้
3.ที่หลบซ่อนเพื่อให้กุ้งหลบอาศัยในเวลากลางวัน ให้ใช้ขอนไม้ กระถางดินเผา กระถางต้นไม้แตกๆ อุปกรณ์ที่เจาะเป็นโพรง หรือท่อพีวีซีตัด เป็นท่อนๆ
4. ปิดฝาหรือจุดที่กุ้งจะปีนหนีได้
วัสดุปูรองพื้นตู้ที่ใช้เลี้ยงกุ้งเครฟิช ควรปูหินกรวดเล็กรองพื้นตู้เพื่อความสวยงาม และมีประโยชน์ต่อกุ้งหลายประการคือ
1. ทำให้มีสีสรรสวยงามมากขึ้น ทำให้กุ้งไม่ตื่นตกใจ และกุ้งสามารถปรับตัวตามสิ่งแวดล้อมได้ จะทำให้กุ้งมีสีเข้มขึ้นถ้าเน้นหินสีดำหรือน้ำตาล
2. กุ้งป่า ส่วนมากที่หลบซ่อนจะเป็นการขุด กรวดหิน
3. หินกรวดทำให้น้ำในตู้ใสอยู่เสมอ เนื่องจากช่วยดูดซับตะกอนและเศษอาหาร
การให้อากาศและระบบกรองน้ำ
ไม่จำเป็นต้องมีเครื่องให้อากาศก็ได้ ถ้าเราเลี้ยงกุ้งแค่ตัวเดียวและมีพื้นที่กว้างและดูแลน้ำได้ดี แต่การให้อากาศก็ยังจำเป็นอยู่มากในระบบตู้เลี้ยง ซึ่งเน้นความสวยงามและมีการเลี้ยงกุ้งหลายตัว หรือกั้นตู้
แต่สามารถใช้หัวทรายจุ่มลงในน้ำ 3-4 นิ้ว กันฟุ้ง หรือใช้กรองในตู้ กรองแขวน กรองกล่องได้ เพราะกุ้งใช้อากาศน้อยกว่าปลา ยกเว้นกรองแผ่นพื้นที่มักจะโดนกุ้งขุด และกรองฟองน้ำที่อาจโดนกุ้งแทะเล่นได้
การเพาะกุ้งเครฟิชและวิธีเลี้ยง
วิธีการเพาะพันธุ์ กุ้งเครฟิช
การผสมพันธุ์กุ้งเครฟิช สามารถทำได้ตลอดทั้งปี ด้วยวิธีง่ายๆ ในตู้เลี้ยง โดยไม่ต้องมีเทคนิคพิเศษอะไรเหมือนกับการเพาะพันธุ์ปลาหางนกยูง
เพียงแค่ปล่อยตัวผู้และตัวเมียที่แข็งแรง มีอายุประมาณ 6-7 เดือนขึ้นไปซึ่งอยู่ในวัยเจริญพันธุ์ให้อยู่ด้วยกัน และต้องมีเนื้อที่กว้างขวางพอสำหรับกุ้งด้วย ไม่เช่นนั้นจะกลายเป็นการแย่งที่อยู่ หรือเกิดการแบ่งถิ่นกันก็ได้ ควรจะเลือกกุ้งเครฟิชที่มีสปีชีส์เดียวกัน เพศผู้และเพศเมียที่มีลักษณะทางกายภาพที่สมบูรณ์ มีก้ามและขาอยู่ครบ มีขนาดประมาณ 2.5 นิ้วขึ้นไป แม้ว่ากุ้งขนาด 2 นิ้ว จะเป็นวัยเจริญพันธุ์แล้วก็ตาม แต่ก็ไม่ควรนำมาผสมพันธุ์ เพราะจะได้ไข่น้อย
ในแต่ละครั้งของการผสมพันธุ์ ตัวเมียจะใช้เวลาประมาณ 30 วัน จึงฟักไข่ออกเป็นตัว แม่กุ้งสามารถให้ลูกได้ประมาณ 50-400 ตัวไม่ควรเลี้ยงร่วมกับปลาเพราะกุ้งเครฟิชอาจจับกินเป็นอาหารได้ โดยธรรมชาติของกุ้งเครฟิช มักมีพฤติกรรมการกินกันเอง จึงควรจัดหาที่หลบซ่อน เช่น ขอนไม้, ถ้ำ, กระถางดินเผา, ท่อพีวีซี ฯลฯ เอาไว้ให้กุ้งอย่างพอเพียง โดยเฉพาะในช่วงที่มีการลอกคราบ ลูกกุ้งจะต้องการที่หลบซ่อนอย่างมาก แต่พ่อแม่กุ้งจะไม่กินลูกกุ้งเป็นอาหาร และลูกกุ้งเองก็อาศัยไม่ไกลจากพ่อแม่นัก เพื่อคอยเก็บกินเศษอาหารจากพ่อแม่
วิธีการเลี้ยงกุ้งเครฟิช
หลักการเลี้ยงกุ้งเครฟิชจะดัดแปลงมาจากอุปนิสัยและการอยู่อาศัยของมันเองคือ
1. กุ้งทุกชนิดโดยธรรมชาติ จะชอบออกหากินในเวลาคืน ไม่ชอบแสง ในตอนกลางวันอาจจะนอน หรือหลบอยู่ทั้งวัน จึงต้องมีที่หลบซ่อนและปิดบังได้
2. กุ้งตัวผู้จะมีขนาดของก้ามที่ใหญ่โตสง่างาม สีสรรสวยงามและแข็งแรงกว่ากุ้งตัวเมีย ไว้ใช้เป็นอาวุธต่อสู้ป้องกันตัวเอง
3. เวลาลอกคราบกุ้งจะอ่อนแอที่สุด และมักจะถูกรุมทำร้าย หรือจับกิน อาหารสำหรับกุ้งจึงต้องพอเพียง บริเวณที่อาศัยต้องกว้างเพียงพอและที่หลบซ่อนต้องปลอดภัยด้วย
4. ไม่ควรเลี้ยงกุ้งปนกันหลายตัวในที่แคบๆ เพราะมันจะแยกกันกินแยกกันอยู่หรืออาจจับคู่ในระยะสั้นๆ ส่วนมากถ้ากุ้งหิวหรือลอกคราบอาจทำร้ายกันได้เสมอ โดยที่กุ้งจะไม่จำว่าเป็นคู่ของมัน
การผสมพันธุ์กุ้งเครฟิช สามารถทำได้ตลอดทั้งปี ด้วยวิธีง่ายๆ ในตู้เลี้ยง โดยไม่ต้องมีเทคนิคพิเศษอะไรเหมือนกับการเพาะพันธุ์ปลาหางนกยูง
เพียงแค่ปล่อยตัวผู้และตัวเมียที่แข็งแรง มีอายุประมาณ 6-7 เดือนขึ้นไปซึ่งอยู่ในวัยเจริญพันธุ์ให้อยู่ด้วยกัน และต้องมีเนื้อที่กว้างขวางพอสำหรับกุ้งด้วย ไม่เช่นนั้นจะกลายเป็นการแย่งที่อยู่ หรือเกิดการแบ่งถิ่นกันก็ได้ ควรจะเลือกกุ้งเครฟิชที่มีสปีชีส์เดียวกัน เพศผู้และเพศเมียที่มีลักษณะทางกายภาพที่สมบูรณ์ มีก้ามและขาอยู่ครบ มีขนาดประมาณ 2.5 นิ้วขึ้นไป แม้ว่ากุ้งขนาด 2 นิ้ว จะเป็นวัยเจริญพันธุ์แล้วก็ตาม แต่ก็ไม่ควรนำมาผสมพันธุ์ เพราะจะได้ไข่น้อย
ในแต่ละครั้งของการผสมพันธุ์ ตัวเมียจะใช้เวลาประมาณ 30 วัน จึงฟักไข่ออกเป็นตัว แม่กุ้งสามารถให้ลูกได้ประมาณ 50-400 ตัวไม่ควรเลี้ยงร่วมกับปลาเพราะกุ้งเครฟิชอาจจับกินเป็นอาหารได้ โดยธรรมชาติของกุ้งเครฟิช มักมีพฤติกรรมการกินกันเอง จึงควรจัดหาที่หลบซ่อน เช่น ขอนไม้, ถ้ำ, กระถางดินเผา, ท่อพีวีซี ฯลฯ เอาไว้ให้กุ้งอย่างพอเพียง โดยเฉพาะในช่วงที่มีการลอกคราบ ลูกกุ้งจะต้องการที่หลบซ่อนอย่างมาก แต่พ่อแม่กุ้งจะไม่กินลูกกุ้งเป็นอาหาร และลูกกุ้งเองก็อาศัยไม่ไกลจากพ่อแม่นัก เพื่อคอยเก็บกินเศษอาหารจากพ่อแม่
วิธีการเลี้ยงกุ้งเครฟิช
หลักการเลี้ยงกุ้งเครฟิชจะดัดแปลงมาจากอุปนิสัยและการอยู่อาศัยของมันเองคือ
1. กุ้งทุกชนิดโดยธรรมชาติ จะชอบออกหากินในเวลาคืน ไม่ชอบแสง ในตอนกลางวันอาจจะนอน หรือหลบอยู่ทั้งวัน จึงต้องมีที่หลบซ่อนและปิดบังได้
2. กุ้งตัวผู้จะมีขนาดของก้ามที่ใหญ่โตสง่างาม สีสรรสวยงามและแข็งแรงกว่ากุ้งตัวเมีย ไว้ใช้เป็นอาวุธต่อสู้ป้องกันตัวเอง
3. เวลาลอกคราบกุ้งจะอ่อนแอที่สุด และมักจะถูกรุมทำร้าย หรือจับกิน อาหารสำหรับกุ้งจึงต้องพอเพียง บริเวณที่อาศัยต้องกว้างเพียงพอและที่หลบซ่อนต้องปลอดภัยด้วย
4. ไม่ควรเลี้ยงกุ้งปนกันหลายตัวในที่แคบๆ เพราะมันจะแยกกันกินแยกกันอยู่หรืออาจจับคู่ในระยะสั้นๆ ส่วนมากถ้ากุ้งหิวหรือลอกคราบอาจทำร้ายกันได้เสมอ โดยที่กุ้งจะไม่จำว่าเป็นคู่ของมัน
การวัดขนาดของกุ้งเครย์ฟิช
การวัดขนาดของกุ้งเครย์ฟิช
โดยมาตรฐานแล้ว จะวัดตั้งแต่ปลายกรีที่ส่วนหัวของกุ้ง ไปจนถึงปลายหางของกุ้ง โดยไม่วัดรวมก้าม
สิ่งที่ต้องหลีกเลี่ยง
สิ่งที่ต้องหลีกเลี่ยง
การเลี้ยงกุ้งเครย์ฟิช สิ่งที่ต้องหลีกเลี่ยงซึ่งอาจทำให้กุ้งตายหรือเลี้ยงไม่โต
เลี้ยงภายในบ้าน ห้ามฉีดยากันยุง สเปร์ปรับอากาศ
และสารเคมี เส้นผมห้ามลงไปในตู้กุ้ง
ล้างโลชันที่แขนและมือ ถ้าทาเล็บห้ามโดนน้ำตู้เลี้ยง
เลี้ยงนอกบ้าน ห้ามฉีดยากันยุง ห้ามฉีดปลวก ห้ามฉีดปุ๋ย
และสารเคมี ห้ามมีเส้นผมลงไปในตู้กุ้ง
ล้างโลชั่นที่แขนและมือ ถ้าทาเล็บห้ามโดนน้ำตู้เลี้ยง
เลี้ยงในนาในบ่อในร่องสวน
ห้ามใส่ปุ๋ยและสารเคมี
(เลี้ยงในนา ต้องเป็นนาที่ไม่ใส่ปุ๋ยเคมีเท่านั้นถึงเลี้ยงได้)
การเลี้ยงกุ้งเครย์ฟิช สิ่งที่ต้องหลีกเลี่ยงซึ่งอาจทำให้กุ้งตายหรือเลี้ยงไม่โต
เลี้ยงภายในบ้าน ห้ามฉีดยากันยุง สเปร์ปรับอากาศ
และสารเคมี เส้นผมห้ามลงไปในตู้กุ้ง
ล้างโลชันที่แขนและมือ ถ้าทาเล็บห้ามโดนน้ำตู้เลี้ยง
เลี้ยงนอกบ้าน ห้ามฉีดยากันยุง ห้ามฉีดปลวก ห้ามฉีดปุ๋ย
และสารเคมี ห้ามมีเส้นผมลงไปในตู้กุ้ง
ล้างโลชั่นที่แขนและมือ ถ้าทาเล็บห้ามโดนน้ำตู้เลี้ยง
เลี้ยงในนาในบ่อในร่องสวน
ห้ามใส่ปุ๋ยและสารเคมี
(เลี้ยงในนา ต้องเป็นนาที่ไม่ใส่ปุ๋ยเคมีเท่านั้นถึงเลี้ยงได้)
กุ้งเครย์ฟิช ที่ออกจาก ตู้ บ่อ หรือนา จะอยู่บนบกได้ไม่นาน
หากตัวแห้งนานๆกุ้งจะตายได้
โรคสนิมกุ้งเครฟิช
โรคสนิมกุ้งเครฟิช
ถ้าเป็นน้อยใช้วิธีธรรมชาติ อัดอาหาร เร่งให้กุ้งลอกคราบ ก็พอไปไหว
แต่ถ้าเป็นเยอะต้องใช้ยาช่วย อาจใช้อีเอ็ม หรือยาอควาเรียม3
ถ้าเป็นจุดที่ไม่สำคัญมาก เล็มเปลือกในส่วนที่เป็นสนิมทิ้งแล้วใส่ยา กันการติดเชื้อเพิ่ม
แต่ถ้าเป็นเยอะต้องใช้ยาช่วย อาจใช้อีเอ็ม หรือยาอควาเรียม3
ถ้าเป็นจุดที่ไม่สำคัญมาก เล็มเปลือกในส่วนที่เป็นสนิมทิ้งแล้วใส่ยา กันการติดเชื้อเพิ่ม
ความรู้เพิ่มเติม...โรคสนิมกุ้งเครฟิช
โรคสนิม ในกุ้งเครฟิชนั้น จะเกิดเป็น ลักษณะคล้ายมีผงสนิมสีน้ำตาลหรือสีทอง เกาะอยู่ตามตัวสัตว์น้ำ โรคนี้นั้นเกิดจากเชื้อโปรโตซัวร์ เกิดจากเชื้อ Piscinoodinium pillularis ช่วงชีวิตหนึ่งซึ่งต้องอาศัยเกาะติดกับสัตว์น้ำ ในฐานะปรสิต อาศัยสัตว์น้ำ สังเคราะห์แสงได้เช่นเดียวกับพืช ทำให้เรามองเห็นปรสิตดังกล่าวเป็นสีน้ำตาล สีทอง หรือสีคล้ายกับสนิม จึงเป็นที่มาของชื่อเรียกว่า โรคสนิม มันสามารถดูซับสารอาหาร จากตัวสัตว์น้ำได้ ทำให้เกิดบาดแผล ติดเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราแทรกซ้อนได้ นำมาซึ่งสาเหตุการตายที่สำคัญของสัตว์น้ำ สัตว์ น้ำป่วยเป็นโรค จะเซื่องซึม ไม่ค่อยเคลื่อนไหว ไม่กินอาหาร ปัญหาโรคสนิมนี่เกิดได้ ทั้งในปลา และ ในกุ้งครับ นอกจากนี้ ยังมีโรคในกลุ่มของ โรควิบริโอซีส ที่เป็นอันตรายต่อกุ้งเครฟิชได้ สาเหตุของโรค: จากการติดเชื้อวิบริโอ (Vibrio spp.) การรักษา 1. ใช้สารเคมีกลุ่มไอโอดีน 2. ใช้ยาในกลุ่มยาปฏิชีวนะ การป้องกัน 1. ควบคุมปริมาณอาหารที่ให้อยู่ในระดับเหมาะสม 2. การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำ และควบคุมปัจจัยต่างๆ ให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ผู้เลี้ยงควรจะรักษาคุณภาพของน้ำให้สะอาดอยู่เสมอ เนื่องจากหากว่าคุณภาพน้ำไม่ดี กุ้งจะลอกคราบไม่ผ่าน และโรคสนิมนี้จะลุกลามเร็วมาก มีอัตราการตายสูง วิธีรักษาเบื้องต้น คือ การถ่ายน้ำและเร่งให้กุ้งลอกคราบออกเสีย จากนั้นจึงตักคราบทิ้งทันที เร่งการลอกคราบทำได้โดยการถ่ายน้ำด้วยน้ำที่มีค่า Alkalinity สูงกว่าอยู่ในตู้ หรือปรับน้ำให้มีค่าอยู่ในช่วงที่จะกระตุ้นได้ ( น้ำจืด 80 – 100 ppm น้ำเค็ม 150 – 200 ppm ) หากยังเป็นโรคนี้ขึ้นมาอีกให้ใช้ยา Chioramphenicol 5-7 MG ผสมอาหาร 1 ขีด ให้กินติดต่อกันจนกว่าจะหาย ( ต้องคำนวณปริมาณยารักษาให้เหมาะสม และถูกต้อง ไม่อย่างนั้น จะเกิดอันตรายต่อกุ้งได้) เราจะเห็นได้ว่าถ้ากุ้งเป็นโรคอย่าให้กุ้งกินคราบตัวเองดีที่สุดคะเพราะการกินคราบตัวเองทำให้โรคนั้นเข้าไปอยู่ในกุ้งอีก
โรคสนิม ในกุ้งเครฟิชนั้น จะเกิดเป็น ลักษณะคล้ายมีผงสนิมสีน้ำตาลหรือสีทอง เกาะอยู่ตามตัวสัตว์น้ำ โรคนี้นั้นเกิดจากเชื้อโปรโตซัวร์ เกิดจากเชื้อ Piscinoodinium pillularis ช่วงชีวิตหนึ่งซึ่งต้องอาศัยเกาะติดกับสัตว์น้ำ ในฐานะปรสิต อาศัยสัตว์น้ำ สังเคราะห์แสงได้เช่นเดียวกับพืช ทำให้เรามองเห็นปรสิตดังกล่าวเป็นสีน้ำตาล สีทอง หรือสีคล้ายกับสนิม จึงเป็นที่มาของชื่อเรียกว่า โรคสนิม มันสามารถดูซับสารอาหาร จากตัวสัตว์น้ำได้ ทำให้เกิดบาดแผล ติดเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราแทรกซ้อนได้ นำมาซึ่งสาเหตุการตายที่สำคัญของสัตว์น้ำ สัตว์ น้ำป่วยเป็นโรค จะเซื่องซึม ไม่ค่อยเคลื่อนไหว ไม่กินอาหาร ปัญหาโรคสนิมนี่เกิดได้ ทั้งในปลา และ ในกุ้งครับ นอกจากนี้ ยังมีโรคในกลุ่มของ โรควิบริโอซีส ที่เป็นอันตรายต่อกุ้งเครฟิชได้ สาเหตุของโรค: จากการติดเชื้อวิบริโอ (Vibrio spp.) การรักษา 1. ใช้สารเคมีกลุ่มไอโอดีน 2. ใช้ยาในกลุ่มยาปฏิชีวนะ การป้องกัน 1. ควบคุมปริมาณอาหารที่ให้อยู่ในระดับเหมาะสม 2. การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำ และควบคุมปัจจัยต่างๆ ให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ผู้เลี้ยงควรจะรักษาคุณภาพของน้ำให้สะอาดอยู่เสมอ เนื่องจากหากว่าคุณภาพน้ำไม่ดี กุ้งจะลอกคราบไม่ผ่าน และโรคสนิมนี้จะลุกลามเร็วมาก มีอัตราการตายสูง วิธีรักษาเบื้องต้น คือ การถ่ายน้ำและเร่งให้กุ้งลอกคราบออกเสีย จากนั้นจึงตักคราบทิ้งทันที เร่งการลอกคราบทำได้โดยการถ่ายน้ำด้วยน้ำที่มีค่า Alkalinity สูงกว่าอยู่ในตู้ หรือปรับน้ำให้มีค่าอยู่ในช่วงที่จะกระตุ้นได้ ( น้ำจืด 80 – 100 ppm น้ำเค็ม 150 – 200 ppm ) หากยังเป็นโรคนี้ขึ้นมาอีกให้ใช้ยา Chioramphenicol 5-7 MG ผสมอาหาร 1 ขีด ให้กินติดต่อกันจนกว่าจะหาย ( ต้องคำนวณปริมาณยารักษาให้เหมาะสม และถูกต้อง ไม่อย่างนั้น จะเกิดอันตรายต่อกุ้งได้) เราจะเห็นได้ว่าถ้ากุ้งเป็นโรคอย่าให้กุ้งกินคราบตัวเองดีที่สุดคะเพราะการกินคราบตัวเองทำให้โรคนั้นเข้าไปอยู่ในกุ้งอีก
สาเหตุที่กุ้งเครย์ฟิชลอกคราบไม่ผ่าน
สาเหตุที่กุ้งเครย์ฟิชลอกคราบไม่ผ่าน
1.เกิดจากการสะสมอาหารโปรตีนไม่เพียงพอ
2.เกิดจากก่อนกุ้งจะลอกคราบผู้เลี้ยงไปเปลี่ยนถ่ายน้ำ
3.ลอกคราบผ่านตัวกุ้งยังนิ่มก็ไม่ควรเปลี่ยนถ่ายน้ำ
4.น้ำในตู้มีของเสียมาก และอ็อกซิเจนไม่เพียงพอ
5.กุ้งป่วยด้วยสาเหตุต่างๆ
กุ้งหัวเปิดมี3แบบ
1.หัวเปิดตัวหัวนิ่ม ลอกคราบ
2.หัวเปิดตัวหัวแข็ง กุ้งกินอาหารมากหัวจะยก
3.หัวเปิดตัวหัวแข็ง กุ้งป่วย ไม่กินอาหาร ไม่ค่อยเดิน
1.เกิดจากการสะสมอาหารโปรตีนไม่เพียงพอ
2.เกิดจากก่อนกุ้งจะลอกคราบผู้เลี้ยงไปเปลี่ยนถ่ายน้ำ
3.ลอกคราบผ่านตัวกุ้งยังนิ่มก็ไม่ควรเปลี่ยนถ่ายน้ำ
4.น้ำในตู้มีของเสียมาก และอ็อกซิเจนไม่เพียงพอ
5.กุ้งป่วยด้วยสาเหตุต่างๆ
กุ้งหัวเปิดมี3แบบ
1.หัวเปิดตัวหัวนิ่ม ลอกคราบ
2.หัวเปิดตัวหัวแข็ง กุ้งกินอาหารมากหัวจะยก
3.หัวเปิดตัวหัวแข็ง กุ้งป่วย ไม่กินอาหาร ไม่ค่อยเดิน
วิธีการเลือกซื้อ Crayfish
วิธีการเลือกซื้อ Crayfish
1.เลือกกุ้งที่มีอวัยวะสำคัญต่างๆครบสมบูรณ์คือ ดวงตาและก้ามครบ2 ข้าง ขาเดินครบทั้ง4 คู่
2.มีเปลือกลำตัวแข็ง ไม่อยู่ในช่วงระยะลอกคราบ ซึ่งร่างกายอ่อนแอ
3.เลือกกุ้งที่แข็งแรง มีอาการตอบสนองป้องกันตัวเมื่อถูกรบกวน เช่น การยกก้ามคู่ป้องกันตัวเอง หลบหนีด้วยการดีดลำตัวอย่างว่องไวหรือ พยายามปีนป่ายหนีเมื่อนำมาใส่ภาชนะ
4.เลือกซื้อกุ้งคุณภาพจากร้านและฟาร์มที่ท่านไว้ใจ และสังเกตจากสภาพน้ำและภาชนะที่วางขาย
5.กรณีที่เป็นกุ้งนำเข้าจากต่างประเทศ ควรได้รับการปรับสภาพ พักและเปลี่ยนถ่ายน้ำแล้วอย่างน้อย 1-2 สัปดาห์ขึ้นไป ( หายาก )
1.เลือกกุ้งที่มีอวัยวะสำคัญต่างๆครบสมบูรณ์คือ ดวงตาและก้ามครบ2 ข้าง ขาเดินครบทั้ง4 คู่
2.มีเปลือกลำตัวแข็ง ไม่อยู่ในช่วงระยะลอกคราบ ซึ่งร่างกายอ่อนแอ
3.เลือกกุ้งที่แข็งแรง มีอาการตอบสนองป้องกันตัวเมื่อถูกรบกวน เช่น การยกก้ามคู่ป้องกันตัวเอง หลบหนีด้วยการดีดลำตัวอย่างว่องไวหรือ พยายามปีนป่ายหนีเมื่อนำมาใส่ภาชนะ
4.เลือกซื้อกุ้งคุณภาพจากร้านและฟาร์มที่ท่านไว้ใจ และสังเกตจากสภาพน้ำและภาชนะที่วางขาย
5.กรณีที่เป็นกุ้งนำเข้าจากต่างประเทศ ควรได้รับการปรับสภาพ พักและเปลี่ยนถ่ายน้ำแล้วอย่างน้อย 1-2 สัปดาห์ขึ้นไป ( หายาก )
การเลี้ยงกุ้งเครฟิชรวมกับปลาสวยงาม
การเลี้ยงกุ้งเครฟิชรวมกับปลาสวยงาม
1.ขนาดตู้ ต้องกว้างเพียงพออย่างน้อย 24 นิ้ว น้ำลึกอย่างน้อย 1 ฟุต
2.เลือกชนิดปลาขนาดเล็กที่ว่ายน้ำเร็ว หรือหากินกลางน้ำ ปลาที่ว่ายน้ำช้า ปลาที่มีครีบยาวๆ ปลาที่มีนิสัยนอนพื้นตู้ ไม่ควรเลี้ยงเด็ดขาด
3.ปลาเทศบาล ที่เลี้ยงได้เช่น ปลาซัคเกอร์ น้ำผึ้ง ปลาจิ้งจก
อาหารการกิน
อาหารการกิน
กุ้งเครฟิช กินอาหารได้แทบทุกชนิด นิสัยของกุ้งจะกินอาหารได้ทั้งวัน แต่ในธรรมชาติมันจะกินอาหารประเภทพืชผัก รากไม้ ใบไม้ ผลไม้เป็นหลัก ในที่ เลี้ยงผู้เลี้ยงสามารถให้ ข้าวโพด มันฝรั่ง ถั่วลันเตา ฟักทอง แอปเปิ้ลได้ พรรณไม้น้ำที่ใช้ตกแต่งตู้อาจโดนรื้อทึ้งเป็นอาหารได้ อาหารประเภทเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อ ไก่ เนื้อหมู เนื้อปลา เนื้อกุ้งทะเลต้มหรือกุ้งฝอยต้มหั่นชิ้นเล็กๆได้ ถ้าให้ง่ายยิ่งไปกว่านั้นอาหารเม็ดสำเร็จรูปชนิดจมสูตรต่างๆ
กุ้งเครฟิช กินอาหารได้แทบทุกชนิด นิสัยของกุ้งจะกินอาหารได้ทั้งวัน แต่ในธรรมชาติมันจะกินอาหารประเภทพืชผัก รากไม้ ใบไม้ ผลไม้เป็นหลัก ในที่ เลี้ยงผู้เลี้ยงสามารถให้ ข้าวโพด มันฝรั่ง ถั่วลันเตา ฟักทอง แอปเปิ้ลได้ พรรณไม้น้ำที่ใช้ตกแต่งตู้อาจโดนรื้อทึ้งเป็นอาหารได้ อาหารประเภทเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อ ไก่ เนื้อหมู เนื้อปลา เนื้อกุ้งทะเลต้มหรือกุ้งฝอยต้มหั่นชิ้นเล็กๆได้ ถ้าให้ง่ายยิ่งไปกว่านั้นอาหารเม็ดสำเร็จรูปชนิดจมสูตรต่างๆ
และควรจะเสริมด้วยอาหารสด เช่น หนอนนก เพื่อเพิ่มโปรตีนช่วยให้กุ้งมีสีสด โตเร็วและก้ามโต แต่ข้อควรระวังในการใช้อาหารสด คือน้ำที่ใช้เลี้ยงอาจจะเสียได้ จะต้องหมั่นเปลี่ยนถ่ายน้ำโดยในการเปลี่ยนแต่ละครั้งควรเปลี่ยนน้ำเก่าออก ประมาณ 20-30% ของตู้แล้วเติมน้ำสะอาดใหม่ลงไปทดแทนถ้าใช้น้ำคลอรีนควรพักน้ำในบ่อนาน ประมาณ 7-10 วัน
วัสดุปูรองพื้น
วัสดุปูรองพื้น
การเลี้ยงกุ้งเครฟิช ในตู้ เพื่อความสวยงามควรปูหินกรวดเล็ก รองพื้นตู้ ซึ่งมีมีประโยขน์ต่อกุ้งหลายประการคือ
1.ทำให้กุ้ง ไม่ตื่นตกใจ และมีสีสันสวยงามมากขึ้น กุ้งสามารถปรับตัวตามสิ่งแวดล้อมได้ ถ้าเน้นหินสีดำหรือน้ำตาล จะทำให้กุ้งมีสีเข้มขึ้น
2.กุ้งป่า ส่วนมากจะขุด กรวดหิน เป็นที่หลบซ่อน
3.หินกรวดช่วยดูดซับตะกอนและเศษอาหาร ทำให้น้ำในตู้ใสอยู่เสมอ
การให้อากาศและระบบกรองน้ำ
ถ้าเราเลี้ยงกุ้งแค่ตัวเดียว และมีพื้นที่กว้างและดูแลน้ำได้ดี ไม่จำเป็นต้องมีเครื่องให้อากาศก็ได้
แต่ในระบบตู้เลี้ยง ซึ่งเน้นความสวยงาม และเลี้ยงกุ้งหลายตัว หรือ กั้นตู้ การให้อากาศยังจำเป้นอยู่มาก แต่กุ้งใช้อากาศน้อยกว่าปลา สามารถใช้หัวทรายจุ่มลงในน้ำ 3-4 นิ้ว กันฟุ้ง หรือใช้กรองในตู้ กรองแขวน กรองกล่องได้ ยกเว้นกรองแผ่นพื้นจะโดนกุ้งขุด และกรองฟองน้ำอาจโดนกุ้งแทะเล่น
น้ำ
อุณหภูมิของน้ำที่เหมาะสมในการเลี้ยงCrayfish คือช่วง 23-28 องศาเซลเซียล ค่าPHที่เหมาะสมคือประมาณ PH7.5 - 8.5ที่มีความกระด้างสูง ผู้เลี้ยงสามารถใส่เกลือลงไปในตู้ได้เล็กน้อย เกลือยังช่วยเสริมแร่ธาตุที่มีความจำเป็นต่อการลอกคราบและสร้างเปลือกใหม่ ด้วย สำหรับการเปลี่ยนถ่ายน้ำ ผู้เลี้ยงควรจะเปลี่ยนถ่ายน้ำ สัปดาห์ละครั้ง ประมาณ 30 -50 %ขึ้นอยู่กับการเลี้ยงและการให้อาหาร แต่ควรปรับอุณหภูมิน้ำให้ดี
การเลี้ยงกุ้งเครฟิช ในตู้ เพื่อความสวยงามควรปูหินกรวดเล็ก รองพื้นตู้ ซึ่งมีมีประโยขน์ต่อกุ้งหลายประการคือ
1.ทำให้กุ้ง ไม่ตื่นตกใจ และมีสีสันสวยงามมากขึ้น กุ้งสามารถปรับตัวตามสิ่งแวดล้อมได้ ถ้าเน้นหินสีดำหรือน้ำตาล จะทำให้กุ้งมีสีเข้มขึ้น
2.กุ้งป่า ส่วนมากจะขุด กรวดหิน เป็นที่หลบซ่อน
3.หินกรวดช่วยดูดซับตะกอนและเศษอาหาร ทำให้น้ำในตู้ใสอยู่เสมอ
การให้อากาศและระบบกรองน้ำ
ถ้าเราเลี้ยงกุ้งแค่ตัวเดียว และมีพื้นที่กว้างและดูแลน้ำได้ดี ไม่จำเป็นต้องมีเครื่องให้อากาศก็ได้
แต่ในระบบตู้เลี้ยง ซึ่งเน้นความสวยงาม และเลี้ยงกุ้งหลายตัว หรือ กั้นตู้ การให้อากาศยังจำเป้นอยู่มาก แต่กุ้งใช้อากาศน้อยกว่าปลา สามารถใช้หัวทรายจุ่มลงในน้ำ 3-4 นิ้ว กันฟุ้ง หรือใช้กรองในตู้ กรองแขวน กรองกล่องได้ ยกเว้นกรองแผ่นพื้นจะโดนกุ้งขุด และกรองฟองน้ำอาจโดนกุ้งแทะเล่น
น้ำ
อุณหภูมิของน้ำที่เหมาะสมในการเลี้ยงCrayfish คือช่วง 23-28 องศาเซลเซียล ค่าPHที่เหมาะสมคือประมาณ PH7.5 - 8.5ที่มีความกระด้างสูง ผู้เลี้ยงสามารถใส่เกลือลงไปในตู้ได้เล็กน้อย เกลือยังช่วยเสริมแร่ธาตุที่มีความจำเป็นต่อการลอกคราบและสร้างเปลือกใหม่ ด้วย สำหรับการเปลี่ยนถ่ายน้ำ ผู้เลี้ยงควรจะเปลี่ยนถ่ายน้ำ สัปดาห์ละครั้ง ประมาณ 30 -50 %ขึ้นอยู่กับการเลี้ยงและการให้อาหาร แต่ควรปรับอุณหภูมิน้ำให้ดี
มือใหม่รู้ยัง!!!!?? ประโยชน์ของใบหูกวาง "แห้ง" ต่อกุ้งสวยงาม
ประโยชน์ของใบหูกวางต่อกุ้งสวยงาม
TOP SECRET กุ้งสายด่าง อย่าลืมแชร์นะ
ประโยชน์ของใบหูกวางต่อกุ้งสวยงาม
1.ช่วยเร่งสีด่างตามธรรมชาติ
2. ช่วยในการยับยั้งแบคที่เรียที่จะก่อให้เกิดโรค
3. ช่วยในการป้องกันปรสิตที่จะมาเกาะที่ตัว
4. ช่วยในการลดความเครียด
5. ช่วยในการรักษาแผล เพราะมีสารแทนนินที่มีฤทธ์ในการสมานแผล
6. ช่วยในการเร่งสีให้สวยงาม
7. ช่วยในการปรับค่า PH ของน้ำ
...วิธีใช้... ใบหูกวางแห้ง เป็นอาหาร และยารักษาโรคกุ้ง
ใบแห้ง ล้างให้สะอาด แช่น้ำไว้จนกว่าจะจม น้ำเป็นสีเข้มเพราะมีสาร แทนนิน เข้มข้น
... ควรล้างน้ำให้สะอาดอีกที ก่อนใส่ให้กุ้งกิน
....ควรฉีก ลดขนาดลง หากใบใหญ่เกินไป
กะดูแค่ให้พอดีๆกับขนาด ของกล่อง ของตู้ หรือบ่อเลี้ยง
ตู้เลี้ยงและอ่างเลี้ยงกุ้ง
ตู้เลี้ยงและอ่างเลี้ยงกุ้ง
1. ภาชนะสำหรับเลี้ยงกุ้งเครฟิช กุ้งขนาด 3-4 นิ้ว 1 ตัว ควรมีพื้นที่เลี้ยง 1 ตารางฟุต
2. วัสดุปูพื้น ควรเป็นหินนิล เพราะจะทำให้กุ้งสีเข้ม เนื่องจากกุ้งเปลี่ยนสีตามสภาพแวดล้อม
3. อุปกรณ์ตกแต่ง มีที่ให้กุ้งหลบซ่อนตัวจากอันตรายต่างๆ เช่น กระถางต้นไม้แตกๆ ท่อพีวีซีตัด
4. ระบบกรอง ควรเป็นกรองแขวน หรือปั๊มน้ำแบบปล่อยน้ำจากด้านบน เพื่อที่กุ้งจะได้ไม่ปีนออกจากภาชนะเลี้ยง
5. น้ำ ควรมีอุณหภูมิ 23-28 องศา มีค่า pH 7.5-8.5
เราสามารถเลี้ยงกุ้งเครฟิช ในภาชนะใดๆก็ได้ ที่มีการถ่ายเทน้ำที่ดี ไม่ร้อนเกินไป อุณหภูมิน้ำ ประมาณ 23 -28 องศา อาจจะเป็นครึ่งบกครึ่งน้ำก็ได้ น้ำครึ่งตู้ น้ำเต็มตู้ก็ได้ หากจะเลี้ยงหลายๆตัวแต่ต้องกว้างขวางเพียงพอ กุ้งใหญ่ขนาด 3-4 นิ้ว 1 ตัว ใช้พื้นที่อย่างน้อย 1 ฟุต
ถ้าจะเลี้ยงหลายตัวควรเลือกเลี้ยงกุ้ง สายเดียวกัน ไซท์ไล่เลียกัน เพื่อให้มันสามารถปกป้องตัวเองได้ มิเช่นนั้นกุ้งตัวเล็ก มักจะถูกรังแกและมีโอกาสที่จะถูกจับกิน
ที่หลบซ่อนใช้ขอนไม้ กระถางดินเผา กระถางต้นไม้แตกๆ อุปกรณ์ที่เจาะเป็นโพรง หรือท่อพีวีซีตัด เป็นท่อนๆให้กุ้งหลบอาศัยในเวลากลางวัน ด้านบนควรมีฝาปิดไว้กันกุ้งปีนหนี
1. ภาชนะสำหรับเลี้ยงกุ้งเครฟิช กุ้งขนาด 3-4 นิ้ว 1 ตัว ควรมีพื้นที่เลี้ยง 1 ตารางฟุต
2. วัสดุปูพื้น ควรเป็นหินนิล เพราะจะทำให้กุ้งสีเข้ม เนื่องจากกุ้งเปลี่ยนสีตามสภาพแวดล้อม
3. อุปกรณ์ตกแต่ง มีที่ให้กุ้งหลบซ่อนตัวจากอันตรายต่างๆ เช่น กระถางต้นไม้แตกๆ ท่อพีวีซีตัด
4. ระบบกรอง ควรเป็นกรองแขวน หรือปั๊มน้ำแบบปล่อยน้ำจากด้านบน เพื่อที่กุ้งจะได้ไม่ปีนออกจากภาชนะเลี้ยง
5. น้ำ ควรมีอุณหภูมิ 23-28 องศา มีค่า pH 7.5-8.5
เราสามารถเลี้ยงกุ้งเครฟิช ในภาชนะใดๆก็ได้ ที่มีการถ่ายเทน้ำที่ดี ไม่ร้อนเกินไป อุณหภูมิน้ำ ประมาณ 23 -28 องศา อาจจะเป็นครึ่งบกครึ่งน้ำก็ได้ น้ำครึ่งตู้ น้ำเต็มตู้ก็ได้ หากจะเลี้ยงหลายๆตัวแต่ต้องกว้างขวางเพียงพอ กุ้งใหญ่ขนาด 3-4 นิ้ว 1 ตัว ใช้พื้นที่อย่างน้อย 1 ฟุต
ถ้าจะเลี้ยงหลายตัวควรเลือกเลี้ยงกุ้ง สายเดียวกัน ไซท์ไล่เลียกัน เพื่อให้มันสามารถปกป้องตัวเองได้ มิเช่นนั้นกุ้งตัวเล็ก มักจะถูกรังแกและมีโอกาสที่จะถูกจับกิน
ที่หลบซ่อนใช้ขอนไม้ กระถางดินเผา กระถางต้นไม้แตกๆ อุปกรณ์ที่เจาะเป็นโพรง หรือท่อพีวีซีตัด เป็นท่อนๆให้กุ้งหลบอาศัยในเวลากลางวัน ด้านบนควรมีฝาปิดไว้กันกุ้งปีนหนี
หลักการเพาะเลี้ยงกุ้งเครย์ฟิช
หลักการเลี้ยงกุ้งเครย์ฟิช
ในการเลี้ยงกุ้งเครฟิชนั้นมักจะนิยมเลี้ยง 1 ตัวต่อ 1 ตู้ก่อนและหากุ้งตัวที่
2 มาใส่ลงเลี้ยงทีหลังและใน 2 ตัวจะต้องเป็นตัวผู้และตัวเมียอย่างละตัว
ช่วงแรกหมั่นสังเกตว่ากุ้งทั้ง 2 ตัว เข้าคู่กันได้หรือไม่
ถ้าเข้ากันได้ในอนาคตจะมีโอกาสผสมพันธุ์กัน
ในกรณีที่ผสมพันธุ์กันสำเร็จตัวเมียจะมีไข่
ให้แยกเอาตัวผู้ออกมาจากตู้
เมื่อไข่ฟักออกเป็นลูกกุ้ง ในระยะลงเดิน
ให้แยกลูกกุ้งออกมา
เอาลูกกุ้งไปอนุบาลต่างหาก
กุ้งเครย์ฟิชมีหลักการเลี้ยงที่คล้ายคลึงกัน จากอุปนิสัยและการอยู่อาศัยของมันคือ
1.โดยธรรมชาติ กุ้งทุกชนิดชอบออกหากินในเวลาคืน ไม่ชอบแสง ดังนั้นกลางวันอาจจะนอนหรือหลบทั้งวัน จึงต้องการที่หลบซ่อน ยกเว้นกุ้งที่ได้รับการเพาะเลี้ยงในบ้านเราจะคุ้นเคยกับการเลี้ยง
สามารถกินอาหารในเวลากลางวันได้
ที่หลบควรมีไว้ในตู้กุ้ง
เป็นสิ่งจำเป็นช่วยลดความเครียดให้กุ้งได้
2.มีก้ามเป็นอาวุธไว้ต่อสู้ป้องกันตัวเอง กุ้งตัวผู้จะมีขนาดของก้ามที่ใหญ่โตสง่างาม สีสันสวยงามและแข็งแรงกว่ากุ้งตัวเมีย
3. กุ้งอ่อนแอที่สุดเวลาลอกคราบ มักจะถูกรุมทำร้ายหรือจับกิน ดังนั้นอาหารต้องพอเพียง ตู้ต้องกว้างเพียงพอและมีที่หลบซ่อนที่ปลอดภัย
กุ้งเครฟิชคืออะไร
ปัจจุบันกุ้งเครย์ฟิสจะแยกได้ 2 กลุ่มตามลักษณะของก้าม
คือ “กลุ่มก้ามหนาม” และ “กลุ่มก้ามเรียบ”
การเลี้ยงกุ้งเครฟิช ( Crayfish )
กุ้งเครฟิช หมายถึงกุ้งมังกรหรือล็อบเตอร์น้ำจืด ( Fresh–water lobster ) เป็นคนละชนิดกับกุ้งมังกรหรือ ล็อบเตอร์น้ำเค็ม
เครฟิช จะมีเปลือกหนาเป็นชุดเกราะคลุมส่วนหัว-อกและลำตัว ส่วนขา มี 2 ประเภทคือขาเดินและขาว่ายน้ำ สำหรับขาเดินจะมี 5 คู่ด้วยกัน ขาเดินคู่แรกสุดเป็นก้ามที่แข็งแรงใหญ่ไว้ป้องกันตัวและต่อสู้ ส่วนขาว่ายน้ำนั้นจะเป็นแผ่นแบนๆ
ถิ่นที่อยู่ในธรรมชาติ
กุ้งเครฟิช มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป เอเซียตะวันออก และออสเตรเลีย ปัจจุบันมีการค้นพบมากกว่า500 ชนิดแล้ว โดยมากกว่าครึ่งมีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาเหนือ ในธรรมชาติกุ้งเครย์ฟิชจะอาศัยอยู่ตามโขดหินหรือใต้ขอนไม้อยู่ในทั้งลำธาร หนองน้ำ และทะเลสาป
กุ้งเครย์ฟิชในโลก แบ่งออกเป็นหลายตระกูล ( Genus) แต่ในที่นี้เราจะขอจำแนกกลุ่มของเครฟิชที่มีในบ้านเราออกเป็น 3 สาย เพื่อจะได้เข้าใจง่าย ดังนี้
สายที่ 1 คือ Procambarus. จัดเป็นกุ้งในกลุ่มกุ้งก้ามหนาม บ้านเรานิยมเรียกกุ้งสาย พี. จุดสังเกตุที่สำคัญบริเวณก้ามจะมีหนาม ที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปอเมริกาและยุโรป
Procambarus Clarkii Ghost
Procambarus Clarkii Clearl

Procambarus clarkii White albino
Procambarus clarkii allen
สายที่ 2 คือ Cherax.
หรือกุ้งยับบี้น้ำจืด จัดอยู่ในกลุ่มกุ้งก้ามเรียบ บ้านเรานิยมเรียกกุ้งสาย
ซี. จุดสังเกตุที่สำคัญคือจะมีก้ามใหญ่ มีถิ่นกำเนิดในโซน ออสเตรเลีย
ปาปัวนิวกินี และอินโดนีเซีย
Cherax peknyi
Cherax snowden
Cherax Destructor
สายที่ 3 คือ Cambarellus. บ้านเราเรียกกุ้งเครแคระ เพราะมีขนาดเล็ก 3-4 ซม.
กุ้งไทเกอร์ ( Tiger Shrimp ) : สายพันธุ์กุ้งแคระ
กุ้งแคระไทเกอร์ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Caridina cf. cantonensis sp. "Tiger" สามารถพบเจอกุ้งนี้ได้ ในแหล่งน้ำธรรมชาติ ที่มีคุณภาพดี มีค่าน้ำอ่อน และ อุณหภูมิที่ไม่สูง ในประเทศไต้หวัน และ ในบางพื้นที่ของเอเชียตะวันออก และนับเป็นกุ้งแคระ ในสกุล Caridina ชนิดแรก ที่ได้รับความนิยมในประเทศ สหรัฐ อเมริกา ภายหลังจากที่ กุ้งแคระยามาโตะ หรือ Amano Shrimp นั้นได้เป็นที่รู้จักกันแล้ว จนต่อมา กุ้งแคระชนิดนี้ ก็ได้แพร่หลายไปทั่วยุโรป และ เอเชีย หลากหลายประเทศในเวลาต่อมา กุ้งแคระชนิดนี้ เป็นกุ้งแคระที่ไม่ก้าวร้าว ไม่ทำร้าย หรือ เกะกะระรานสิ่งมีชีวิตใดๆ ในที่เลี้ยง ยิ่งถ้าในตู้เลี้ยงไม่มี สิ่งมีชีวิตผู้ล่าใดๆ แล้ว กุ้งแคระไทเกอร์ ก็จะดูมีชีวิตชีวามากขึ้น จะออกเดินหากินอาหาร และ ตะไคร่ไปทั่วตู้เลยทีเดียวครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)